Graphic-Group7
วันพฤหัสบดีที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2554
หน้าปก
รายงาน
วิชา
คอมพิวเตอร์
เรื่อง
ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
นาย กิตติภพ เตชวุฒิภัทร เลขที่ 4
นาย ปริชญ์ พงษ์สาระนันทกุล เลขที่ 16
นางสาว สุพินดา กันเกตุทิม เลขที่ 28
นางสาว จิรานันท์ ปัญโญใหญ่ เลขที่ 42
นางสาว กานต์ธีรา กรชวน เลขที่ 57
ชั้น ม.4/1
เสนอ
ม.เดชา นันเปรย
คำนำ
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่ง ของวิชา คอมพิวเตอร์ เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับกราฟิกทั้ง ประวัติความเป็นมาของกราฟิก,บทบาทและความสำคัญของกราฟิก,ความหมายเกี่ยวกับกราฟิก,ประเภทของภาพกราฟิก,หลักการทำงานและการแสดงผลของภาพกราฟิก,สีและแสงที่ใช้ในงานกราฟิก,ชนิดและรูปแบบไฟล์กราฟิก,การประยุกต์ใช้งานกราฟิก เพื่อนำเสนอแก่บุคคลที่สนใจเรื่อง ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก และหวังว่ารายงานเล่มนี้จะมีประโยชน์กับผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย ถ้าหากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทำ
สารบัญ
คำนำ
สารบัญ
ประวัติความเป็นมาของกราฟิก
บทบาทและความสำคัญของกราฟฟิก
ความหมายเกี่ยวกับกราฟฟิก
ประเภทของภาพกราฟิก
หลักการทำงานและการแสดงผลของภาพกราฟฟิก
สีและแสงที่ใช้ในงานกราฟิก
ชนิดและรูปแบบไฟล์กราฟิก
การประยุกต์ใช้งานกราฟิก
อ้างอิง
สารบัญ
ประวัติความเป็นมาของกราฟิก
บทบาทและความสำคัญของกราฟฟิก
ความหมายเกี่ยวกับกราฟฟิก
ประเภทของภาพกราฟิก
หลักการทำงานและการแสดงผลของภาพกราฟฟิก
สีและแสงที่ใช้ในงานกราฟิก
ชนิดและรูปแบบไฟล์กราฟิก
การประยุกต์ใช้งานกราฟิก
อ้างอิง
ประวัติความเป็นมา
งานกราฟิก มีประวัติความเป็นมาตามหลักฐานในอดีตเมื่อมนุษย์เริ่มรู้จักการขีดเขียน ขูด จารึกเป็นร่องรอย
ให้ปรากฏเป็นหลักฐาน ในปัจจุบัน การออกแบบกราฟิกสมัยก่อนประวัติศาสตร์จึงเป็นการเริ่มต้นการสื่อความหมายด้วยการวาดเขียน ให้ผู้อ่านตีความหมายได้ เรียกว่า Pictogram เช่นภาพคน ภาพสัตว์ ต้นไม้ ไว้บนผนังหรือบนเพดานถ้ำและมีการแกะสลักลงบนเขาสัตว์ กระดูกสัตวซึ่งใช้วิธีการวาดอย่างง่ายๆไม่มีรายละเอียดมาก
ต่อมาประมาณ 9000 ปี ก่อนคริสต์กาล ชาว Sumerien ในแคว้นเมโสโปเตเมียได้เริ่มเขียนตัวอักษรรูปลิ่ม (Cuneiform) และตัวอักษร Hieroglyphic ของชาวอียิปต์งานกราฟิกเริ่มได้รับการยอมรับมากขึ้น เมื่อได้คิดค้นกระดาษและวิธีการพิมพ์ ปีค.ศ.1440 Johann Gutenberg ชาวเยอรมัน ได้ประดิษฐ์เครื่องพิมพ์แบบตัวเรียง
ที่สามารถพิมพ์ได้หลายครั้ง ครั้งละจำนวนมากๆ
ให้ปรากฏเป็นหลักฐาน ในปัจจุบัน การออกแบบกราฟิกสมัยก่อนประวัติศาสตร์จึงเป็นการเริ่มต้นการสื่อความหมายด้วยการวาดเขียน ให้ผู้อ่านตีความหมายได้ เรียกว่า Pictogram เช่นภาพคน ภาพสัตว์ ต้นไม้ ไว้บนผนังหรือบนเพดานถ้ำและมีการแกะสลักลงบนเขาสัตว์ กระดูกสัตวซึ่งใช้วิธีการวาดอย่างง่ายๆไม่มีรายละเอียดมาก
ต่อมาประมาณ 9000 ปี ก่อนคริสต์กาล ชาว Sumerien ในแคว้นเมโสโปเตเมียได้เริ่มเขียนตัวอักษรรูปลิ่ม (Cuneiform) และตัวอักษร Hieroglyphic ของชาวอียิปต์งานกราฟิกเริ่มได้รับการยอมรับมากขึ้น เมื่อได้คิดค้นกระดาษและวิธีการพิมพ์ ปีค.ศ.1440 Johann Gutenberg ชาวเยอรมัน ได้ประดิษฐ์เครื่องพิมพ์แบบตัวเรียง
ที่สามารถพิมพ์ได้หลายครั้ง ครั้งละจำนวนมากๆ
ในปี ค.ศ.1950 การออกแบบได้ชื่อว่าเป็น Typographical Styleเป็นการพัฒนาโดยนักออกแบบชาวสวิส
ได้นำวิธีการจัดวางตัวอักษรข้อความและภาพเป็นคอลัมภ์มีการใช้ตารางช่วยให้อ่านง่ายมีความเป็นระเบียบ สวยงาม
มีการจัดแถวของข้อความแบบชิดขอบด้านหน้าและด้านหลังตรงเสมอกัน
ได้นำวิธีการจัดวางตัวอักษรข้อความและภาพเป็นคอลัมภ์มีการใช้ตารางช่วยให้อ่านง่ายมีความเป็นระเบียบ สวยงาม
มีการจัดแถวของข้อความแบบชิดขอบด้านหน้าและด้านหลังตรงเสมอกัน
ตั้งแต่สมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา การออกแบบกราฟิกได้พัฒนาและขยายขอบเขตงานออกไปอย่างกว้างขวาง ไม่จำกัดอยู่แต่ในสิ่งพิมพ์เท่านั้นโดยได้เข้าไปอยู่ในกระบวนการสื่อสารอื่นๆเช่น ภาพยนตร์ โทรทัศน์ วีดิทัศน์การถ่ายภาพ โปสเตอร์ การโฆษณา ฯลฯ
การออกแบบกราฟิกปัจจุบัน เป็นยุคของอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมและเทคโนโลยีได้นำเครื่องมือ เครื่องใช้ วัสดุอุปกรณ์ วัสดุสำเร็จรูปมาช่วยในการออกแบบกราฟิกได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์
( ComputerGraphics ) มีโปรแกรมด้านการจัดพิมพ์ตัวอักษรที่นิยมกันมากคือ Microsoft Wordสามารถจัดเรียง วางรูปแบบ สร้างภาพ กราฟ แผนภูมิ จัดการและสร้างสรรค์ตัวอักษรโปรแกรมอื่นๆที่สนับสนุนงานกราฟิกอีกมากมาย เช่น Adobe Photoshop / Illustrator /PageMaker / CorelDraw / 3D Studio / LightWave 3D / AutoCad ฯลฯนอกจากนี้ยังมีโปรแกรมที่ช่วยให้สามารถสร้างสรรค์งานกราฟิกบนเว็บ อีกมากเช่น Ulead
Cool / Animagic GIF / Banner Maker เป็นต้น
Cool / Animagic GIF / Banner Maker เป็นต้น
ปัจจุบันงานคอมพิวเตอร์กราฟิก จึงเป็นเทคโนโลยีที่เข้ามาเปลี่ยนรูปแบบการออกแบบและสร้างสรรค์งานกราฟิกอย่างกว้างขวาง เนื่องจากให้ความสะดวก รวดเร็วแก้ไขงาน ทำซ้ำงานทำได้ง่าย ตลอดจนการสั่งพิมพ์
หรือบันทึกเพื่อการพกพาในรูปแบบอื่นๆได้หลายวิธี
หรือบันทึกเพื่อการพกพาในรูปแบบอื่นๆได้หลายวิธี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)